หน่วยปฏิบัติการวิจัยการปรับภูมิคุ้มกันโดยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
Research unit of Immunomodulation of Natural Products
หน่วยปฏิบัติการวิจัยการปรับภูมิคุ้มกันโดยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ มีเป้าหมาย (Ultimate Goal) ที่จะเป็นผู้นำของประเทศไทยด้านการศึกษาวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เช่น พืชสมุนไพรและเห็ดชนิดต่างๆ ในการปรับภูมิคุ้มกัน ต้านมะเร็ง และโรคติดเชื้อ รวมถึงการประยุกต์ใช้องค์ความรู้แห่งศาสตร์การปรับภูมิคุ้มกันในการทำนาย ติดตาม และรักษาโรคติดเชื้อที่ยาปฏิชีวนะในปัจจุบันยังมีประสิทธิภาพไม่ดี นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพชนิดต่างๆ จากสารสกัดจากธรรมชาติเพื่อการใช้ประโยชน์ได้จริง และพัฒนาสู่การเป็นศูนย์ความเป็นเลิศภายในระยะเวลา 3 ปี
วัตถุประสงค์ของโครงการ
- เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับฤทธิ์ปรับภูมิคุ้มกันและกลไกการปรับภูมิคุ้มกันโดยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ รวมถึงการศึกษากลไกในการปรับภูมิคุ้มกันเพื่อรักษาโรคมะเร็ง
- เพื่อประยุกต์ใช้องค์ความรู้แห่งศาสตร์การปรับภูมิคุ้มกันในการทำนาย ติดตาม และรักษาโรคติดเชื้อที่ยาปฏิชีวนะในปัจจุบันยังมีประสิทธิภาพไม่ดี
- เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเทคโนโลยีการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
- พัฒนาให้หน่วยปฏิบัติการวิจัยมีความเข้มแข็งและยั่งยืน สามารถจัดตั้งเป็นศูนย์ความเป็นเลิศได้ตามกำหนด
Objectives
- To search for the immunomodulatory effect of natural products and their mechanisms as well as the immunomodulation for cancer treatment.
- To apply the immunomodulatory knowledge for prediction, monitoring, and treatment of the antibiotic-resistant microorganisms.
- To develop the innovation, innovative health product and laboratory analysis technology.
- To strengthening and promoting sustainable research unit to finally establish the center of excellence.
สมาชิกในหน่วย
ผศ.ดร.ทนพญ.ศิริพร ชื้อชวาลกุล
(หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัย)
ภาควิชาเวชศาสตร์การธนาคารเลือดและจุลชีววิทยาคลินิก
คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผศ.ดร.ทนพญ.ปวีณา ปราชญ์นิวัฒน์
ภาควิชาจุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก
คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ.ดร.ทนพญ.กมลพร อมรสุภัค
ภาควิชาเวชศาสตร์การธนาคารเลือดและจุลชีววิทยาคลินิก
คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
University Technology Sydney
LiGNO Biotech Sdn Bhd
Seoul National University
University of Malaya
Institute of Systems Biology (INBIOSIS)
ผลงานวิจัย
- Prasansuklab A, Theerasri A, Rangsinth P, Sillapachaiyaporn C, Chuchawankul S, Tencomnao T. Anti-COVID-19 drug candidates: A review on potential biological activities of natural products in the management of new coronavirus infection. J Tradit Complement Med. 2021;11(2):144-57.
- Rangsinth P, Sillapachaiyaporn C, Nilkhet S, Tencomnao T, Ung AT, Chuchawankul S. Mushroom-derived bioactive compounds potentially serve as the inhibitors of SARS-CoV-2 main protease: An in silico approach. J Tradit Complement Med. 2021;11(2):158-72.
- Sillapachaiyaporn C, Chuchawankul S. HIV-1 protease and reverse transcriptase inhibition by tiger milk mushroom (Lignosus rhinocerus) sclerotium extracts: In vitro and in silico studies. J Tradit Complement Med. 2020;10(4):396-404.
- Amornsupak K, Thongchot S, Thinyakul C, Box C, Hedayat S, Thuwajit P, Eccles SA, Thuwajit C. HMGB1 mediates invasion and PD-L1 expression through RAGE-PI3K/AKT signaling pathway in MDA-MB-231 breast cancer cells. BMC Cancer. 2022 May 24;22(1):578.
ติดต่อ
ผศ.ดร.ทนพญ.ศิริพร ชื้อชวาลกุล
ภาควิชาเวชศาสตร์การธนาคารเลือดและจุลชีววิทยาคลินิก
คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
154 อาคารจุฬาพัฒน์ 1 ถนนพระราม 1
แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทร: 0 2218 1084
E-mail: Siriporn.ch@chula.ac.th